วัด ศรี มุง เมือง

ตั้งอยู่ที่ ตำบลลวงเหนือ อำเภอดอยสะเก็ด เชียงใหม่ ทางเข้าหมู่บ้านลวงเหนือ อยู่ก่อนถึงและเยื้องโรงพยาบาลดอยสะเก็ด บ้านลวง อำเภอดอยสะเก็ด เป็นชุมชนชาวไทลื้อจากเมืองลวงสิบสองปันนา มีสองตำบลคือตำบลลวงเหนือและลวงใต้ ชาวไทลื้อ ตำบลลวงเหนือสันนิษฐานว่า อพยพมาจากสิบสองปันนาเมื่อปี พ. ศ. 1932 อพยพมาตามพญาแสนเมืองมาเมื่อกลับจากการเยือนสิบสองปันนา พร้อมกับพระชายาได้คลอดพระโอรสคือพญาสามฝั่งแกนที่นี่ ซึ่ง พ. 1944 จึงได้มาสร้างวัดไว้ที่ที่พระองค์ประสูติ คือวัดบุรฉัตร >> ศรีมุงเมือง แตก็มีอีกข้อสันนิษฐานของบ้านเมืองแกน ตำบลอินทขิล อำเภอแม่แตงว่า พญาสามฝั่งแกนได้ประสูติที่พันนาสามฝั่งแกน หรือเมืองแกนปัจจุบัน ซึ่งเป็นเมืองที่มีแม่น้ำสามสายคือ แม่น้ำแกน แม่น้ำปิง และ แม่น้ำงัด หลังจากที่พาไปวัดไทยใหญ่ เจดีย์พม่าที่วัดป่าเป้า [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ วัดไทลื้อที่วัดร้องแง [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้, วัดท่าฟ้าใต้ [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้. วัดต้นแหลง [Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้ ให้ได้คุ้นตากับศิลปะของแต่ละวัดแล้ว วันนี้จะพาไปชมวัดศรีมุงเมือง ในสองระยะคือ พ. 2552... กำลังบูรณะเจดีย์ ยังไม่ได้บูรณะวิหาร และ พ.

วัดศรีมงคลใต้ วัดคู่เมืองมุกดาหาร – Soochivith

2554 พระประธานคือพระบัวเข็ม ประดิษฐานอัฐิธาตุของพระเกจิอาจารย์ รวมทั้งพระอัฐิธาตุข้อนิ้วเมือของหลวงตามหาบัว เจดีย์ศิลปะพม่า ด้านหลังวิหาร เป็นเจดีย์ที่สร้างเมื่อ พ. 1944 มีการบูรณะต่อ ๆ มา จนเจดีย์ได้ชำรุดทรุดโทรมอีกครั้งจึงได้บูรณะขึ้นใหม่ ภาพเมื่อปีพ. 2552 เจดีย์สีขาว... บูรณะแล้ว และ พ.

วัดศรีบุญเรือง - สถานที่ท่องเที่ยวมุกดาหาร

ตำบลโพธิ์ศรีสว่าง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด Wat That Uppmung Pho Si Sawang Subdistrict, Phon Thong District, Roi Et Province "วัดธาตุอุปมุง ป่ายางสูงใหญ่ บุญบั้งไฟประจำปี มีพระธาตุอันศักดิ์สิทธิ์" ประวัติวัดธาตุอุปมุง วัดธาตุอุปมุง ตั้งอยู่เลขที่ ๖๔ บ้านสร้างบุ หมู่ ๓ ตำบลโพธิ์ศรีสว่าง อำเภอโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินที่ตั้งวัดมีเนื้อที่ ๙๔ ไร่ ๖๐ ตารางวา น. ส. ๓ เลขที่ ๑๑๓๙ ต่อมาเมื่อปี พ. ศ. ๒๕๕๙ ได้ กำหนดเขตวัดเป็น โฉนดที่ดิน (น. ๔ จ) เลขที่ ๓๗๒๑๐ เนื้อที่ ๙๑ ไร่ ๒ งาน ๑๖ ตารางวา รอบแนวเขตวัดเป็นถนนสาธารณะ มีที่ธรณีสงฆ์ ๑ แปลง เนื้อที่ ๖ ไร่ ๒ งาน อาคารเสนาสนะ ประกอบด้วย ๑. ศาลาการเปรียญ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๘ เมตร สร้างเมื่อปี พ. ๒๕๕๕ ๒. หอสวดมนต์ กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๐ เมตร สร้างเมื่อปี พ. ๒๕๕๐ ๓. กุฎิสงฆ์ จำนวน ๕ หลัง เป็นอาคารไม้ ๑ หลัง เป็นครึ่งตึกไม้ถือปูน ๒ หลัง เป็นครึ่งเหล็กถือปูน ๒ หลัง ห้องน้ำ จำนวน ๒๕ ห้อง ๔. หอไตร ๑ หลัง กว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๑๒ เมตร เป็นเรือนทำด้วยไม้สร้างเมื่อปี พ. ๒๕๕๒ ปูชนียวัตถุ มีเจดีย์ธาตุอุปมุง ๑ องค์ พระพุทธรูป ๒ องค์ การบริหารการปกครอง มีเจ้าอาวาสที่ทราบนามดังนี้ ๑.

วัดศรีเมือง (จังหวัดสมุทรสาคร) - วิกิพีเดีย

5 กิโลเมตร สะดวกต่อการเดินทางของพุทธศาสนิกชน สภาพในปัจจุบันวัดศรีบุญเรืองอยู่ในระหว่างพัฒนา ปรับปรุงและแก้ไข ทั้งทางวัตถุภายนอก และทางด้านจิตใจของประชาชน การสร้างและการบูรณะวัด จากหลักฐานของคนเฒ่าคนแก่เล่าสืบต่อกันมา และเอกสารพอเชื่อถือได้ กล่าวไว้ว่า "วัดศรีบุญเรือง" เป็นวัดที่ชาวบ้านสร้างขึ้นมาในยุคเดียวกับการสร้างเมืองมุกดาหาร ( ประมาณ พ. 2310 - 2317) เพื่อให้พระธุดงค์ออกจาริกแสวงบุญได้พักอาศัย ในสมัยนั้นพระสงฆ์มีจำนวนน้อย จึงไม่ค่อยจะมีผู้อยู่อาศัยเป็นประจำ วัดแห่งนี้จึงเป็นที่พักอาศัยของพระธุดงค์มาโดยตลอด แม้แต่ชื่อก็ยังไม่สามารถจะทราบได้ ครั้งต่อมา (ประมาณ พ.

วัดศรีมุงเมือง

วัดศรีรองเมือง เป็นวัดพม่าอีกวัดหนึ่งในจังหวัดลำปางที่มีความงดงามมาก ตั้งอยู่ที่บ้านท่าคราวน้อย ตำบลสบตุ๋ย ในเขตอำเภอเมืองลำปาง ตามประวัติความเป็นมาของวัดศรีรองเมืองนั้น กล่าวกันว่าสร้างขึ้นตั้งแต่ปี พ. ศ.

วัดศรีมุงเมือง (Wat Sri Mung Mueang) - อ.ดอยสะเก็ด, จ.เชียงใหม่

ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง Wat Sri Mung Muang Luang Nuea Subdistrict, Ngao District, Lampang Province ความเป็นมา วัดศรีมุงเมือง ตั้งอยู่เลขที่ ๘๑ บ้านใหม่ หมู่ที่ ๕ ตำบลหลวงเหนือ อำเภองาว จังหวัดลำปาง สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ ๒๑ ไร่ ๑ งาน ๔๐ ตารางวา ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันที่ ๑๕ เดือนกุมภาพันธ์ พ. ศ. ๒๕๒๐ หลังจากฝ่ายเจ้าไชยสิริแห่งอาณาจักรหิรัญโยนก เชียงแสน ได้อพยพหนีภัยจากการรุกรานของพระเจ้าเสือขวัญฟ้าลงมาทางตอนใต้โดยยึดลำน้ำสำคัญ ๒ สาย ได้แก่ อพยพลงมาตามลุ่มลำน้ำแม่ยมสายหนึ่ง และอพยพลงมาตามลุ่มลำน้ำแม่งาวสายหนึ่ง ในส่วนของผู้คนที่อพยพลงมาตามลำน้ำงาวนั้น ก็พากันอพยพตามลำน้ำเรื่อย ๆ ไป กระทั่งมาถึงดอยเตี้ย ๆ ใกล้ฝั่งแม่น้ำงาวซึ่งเป็นที่ราบสูงมีบริเวณกว้างขวาง เหมาะแก่การสร้างบ้านแปงเมือง จึงหยุดพำนักพักพลที่นั่น หัวหน้าคนไทยคนสำคัญของหมู่นี้มีนามว่า แสนเมือง เป็นเครือญาติของพ่อขุนงำเมืองเจ้าผู้ครองเมืองพะเยา เมื่อเลือกสรรได้ที่เหมาะสมแล้วก็สร้างคุ้มหลวงขึ้น ราวปี พ. ๑๗๕๐ ที่สร้างเป็นที่สูงจึงเรียกว่า เวียงบน ต่อมาในราวปี พ. ๑๗๘๐ นายแสนเมืองผู้เป็นหัวหน้าจึงเกณฑ์ชายฉกรรจ์ปั้นดินเผาอิฐเพื่อสร้างวัดวาอารามขึ้นบนดอยใกล้เคียงกันกับคุ้มหลวง ให้นามวัดนี้ว่า "วัดพระธาตุตุงคำ" (ธาตุ- เจดีย์, ตุง-ธง คำ- ทอง, หมายถึง วัดที่มีเจดีย์ปักธงทองไว้บนยอด) สมัยต่อมาได้เกิดภัยสงคราม (ศึกเงี้ยว – พม่า) ขึ้นทำให้บ้านเมืองระส่ำระสายประชาชนได้อพยพหนี ทำให้วัดรกร้างชำรุดทรุดโทรมขาดการบูรณะซ่อมแซม จนเห็นอิฐสีแดงที่ก่อเจดีย์ คนรุ่นหลังมาพบวัดร้างเห็นแต่เพียงเจดีย์สีแดง จึงเรียกติดปากว่าวัดเจดีย์แดง และต่อมาในปี พ.

อัปเดต 15 กรกฎาคม 2020: เราได้อัปเดตนโยบายความเป็นส่วนตัวของเรา นโยบายความเป็นส่วนตัวสำหรับบริการเพื่อผู้บริโภคและนโยบายความเป็นส่วนตัวสำหรับบริการเพื่อองค์กรจะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 20 สิงหาคม 2020 หากคุณใช้บริการของเราในหรือหลังวันที่ 20 สิงหาคม 2020 คุณจะยอมรับนโยบายใหม่ของเรา

  • วัดศรีมุงเมือง
  • สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ : Chiangmai Culture Office
  • บูชา'พระกริ่งขวานฟ้า'สร้างมหาวิหาร'ไทลื้อ'
  • ศุกร์ (สุข) ละวัด 'วัดศรีมุงเมือง' วัดศิลปะไทลื้อผสมกับพม่า - The Bangkok Insight
  • Present งาน ภาษา อังกฤษ
  • วัดศรีมุงเมือง Archives -
  • มีพี่คนไหนเรียน SIIT (MT) อยู่ หรือจบแล้วบ้างคะ :D
Saturday, 30-Jul-22 22:10:06 UTC